หลักสูตรช่างซ่อมบิ๊กไบค์
เนื้อหาหลักสูตร
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Bigbike Basic)
1.1 ประเภทของรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
• การแยกประเภทเครื่องยนต์ตามจำนวนกระบอกสูบ และการจัดวางกระบอกสูบ
• การแยกประเภทเครื่องยนต์ตามการจัดวางลิ้น (วาล์ว)
• การแยกประเภทเครื่องยนต์ตามชนิดของการระบายความร้อน
• การแยกประเภทเครื่องยนต์ตามกลวัฎการทำงาน
1.2 ส่วนประกอบของเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
• เสื้อสูบ
• กระบอกสูบ
• ปลอกสูบ
• ลูกสูบ
• แหวนลูกสูบ
• ก้านสูบ
• แบริ่งต่างๆ ในเครื่องยนต์
• เพลาข้อเหวี่ยง
• ตัวหน่วงการสั่น
• เพลาลุกเบี้ยว
• ลิ้น (วาล์ว)
• บ่าลิ้น (วาล์ว)
• ปลอกนำลิ้น (วาล์ว)
• ลิ้น (วาล์ว)
• ฝาสูบ
• ปะเก็นต่างๆ
• ท่อร่วมไอดี
• ท่อไอเสีย
• ปั๊มของเหลวต่างๆ
1.3 หลักการทำงานของรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
• เครื่องยนต์ สองจังหวะ
• เครื่องยนต์ สี่จังหวะ
1.4 กลวัฎออตโต้
• ความรู้พื้นฐานการทำงานกลวัฎออตโต้
• วงกลมกลวัฎออตโต้ (Otto Cycle)
1.5 สมรรถนะ และประสิทธิภาพของรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
• ค่าการวัด
o แรง
o งาน
o กำลังงาน
o พลังงาน
o แรงบิด
o แรงเสียดทาน
o เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสูบ
o ช่วงชัก
o ระยะขจัดของลูกสูบ
o กำลังอัด
o อัตราส่วนการอัด
o แรงม้า
o แรงบิด
o ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์
• หน่วยการวัด
o หน่วยการวัดระบบเมตริก
o หน่วยการวัดระบบอังกฤษ
o หน่วยการวัดระบบเอสไอ
• เครื่องมือซ่อมรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่
o เครื่องมือพื้นฐาน
o เครื่องพิเศษ
o เครื่องมือวัด
2. งานบริการพื้นฐานเกี่ยวกับ รถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Bigbike Service)
• แฟริ่ง
• ช่วงล่าง
• ระบบขับเคลื่อน เช่น โซ่ และฟันเฟือง
• เฟรม
3. งานไฟฟ้า ในรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Electircal System)
• ไฟจุดระเบิด
• ไฟชาร์จ
• ไฟส่องสว่าง
• ไฟสัญญาณ
4. งานระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ ในรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ (Fuel Injection System)
• ความต้องการพื้นฐาน ของน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์
o อัตราส่วนผสมของอากาศ และน้ำมันเชื้อเพลิง
o ความต้องการอัตราส่วนผสมของอากาศ และน้ำมันเชื้อเพลิงในย่านการทำงานต่างๆ
o ข้อจำกัดในการทำงานของคาร์บูเรเตอร์
o ระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์
• ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์
o ส่วนประกอบของระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์
o ตัวตรวจจับสูญญากาศ
o ตัวตรวจจับตำแหน่งลิ้นเร่ง
o ตัวตรวจจับอุณหภูมิของเหลว ในระบบระบายความร้อน
o ตัวตรวจจับอุณหภูมิของอากาศ
o ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน ในระบบไอเสีย
o หน่วยควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกส์
รอบเช้า : -
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา -
รอบวันอาทิตย์ : 16 ครั้ง | 4 เดือน
เวลา 09.00-16.00 น.
สิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับ
- หนังสือเรียน
- ผู้ที่สำเร็จการศึกษา(สอบผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ 70% ทั้งทฤษฎีและปฎิบัติ รวมทั้งต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80%) จะได้รับประกาศนียบัตร
- ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรียนซ้ำได้ไม่จำกัดรุ่น-รอบ-สาขาภายใน 1 ปี โดยเสียค่าธรรมเนียมการเรียนเพียง 100 บาท